21/03/2565

 หลักการทำงานและการวิเคราะห์กลไกของสายพานลำเลียง

สายพานลำเลียงประยุกต์ช่วง



สายพานลำเลียงประกอบด้วยเฟรมตรงกลางและลูกกลิ้งลำเลียงอุปกรณ์ tensioning และใช้สายพานลำเลียงเป็นฉุดและสมาชิกแบริ่งในการขนส่งต่อเนื่องกระจายวัสดุหรือบทความเสร็จแล้ว



สายพานลำเลียงเป็นเครื่องขับเคลื่อนแรงเสียดทานที่ขนส่งวัสดุในลักษณะต่อเนื่อง มันสามารถฟอร์มกระบวนการจากให้อาหารจุดไปยังจุดสุดท้ายปฏิบัติบนบรรทัดลำเลียงลำเลียงวัสดุ สายพานลำเลียงสามารถดำเนินการขนส่งของเสียวัสดุตลอดจนการขนส่งของสินค้าแต่ละรายการ นอกเหนือจากการจัดการวัสดุบริสุทธิ์ มันยังสามารถใช้ร่วมกับความต้องการของกระบวนการผลิตของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในฟอร์มบรรทัดไหลเป็นจังหวะ ดังนั้น สายพานลำเลียงถูกใช้อย่างกว้างขวางในกิจการอุตสาหกรรมที่ทันสมัย

สายพานลำเลียงใช้สำหรับแนวนอน หรือแนวโน้มการขนส่งในใต้ดินถนนเหมือง เหมืองดินระบบขนส่ง เปิดบ่อเหมือง และพืชมุ่งเน้น


โครงสร้างสายพานลำเลียง
  สายพานลำเลียงประกอบด้วยอุปกรณ์สำหรับขับรถ เบรก การปรับความตึง กลับ โหลด ขน และทำความสะอาด ลูกกลิ้ง ลูกกลิ้ง และสายพานลำเลียง

สายพานลำเลียง: นิยมใช้เป็นสายพานยางและเข็มขัดพลาสติก ยางรัดเหมาะสำหรับสภาพแวดล้อมอุณหภูมิระหว่าง -15 ทำงาน ~ 40 ° c อุณหภูมิวัสดุไม่เกิน 50 องศาเซลเซียส หลากหลายวัสดุจำนวนมากขึ้นเป็น 12° ถึง 24° มีลายเส้นยางใช้สำหรับมุมขนาดใหญ่การขนส่ง เข็มขัดพลาสติกมีข้อได้เปรียบของการทนต่อน้ำมัน กรด และ ด่าง แต่มียากจนปรับตัวกับสภาพอากาศ และง่ายต่อการลื่นและอายุ แบนด์วิดท์เป็นพารามิเตอร์ทางเทคนิคหลักของสายพานลำเลียง

ลูกกลิ้ง: บด (มุมของเทปกับกลองเป็น 210 ° ~ 230 °), คู่กลอง (มุมตัด 350 °) และหลายลูกกลิ้ง (สำหรับพลังงานสูง) มีร่องกลิ้ง ลูกกลิ้งแบน ปรับแนวได้เอง ลูกกลิ้งและลูกกลิ้งเบาะ ไอรูปรางที่ (ประกอบด้วยลูกกลิ้ง 2 ถึง 5) สนับสนุนสาขาแบริ่งลำเลียงวัสดุหลวม ใช้ลูกกลิ้งตนเองสอดคล้องในการปรับตำแหน่งด้านข้างของสายพานเพื่อหลีกเลี่ยงการเบี่ยงเบน ลูกกลิ้งบัฟเฟอร์ที่ถูกติดตั้งในตำแหน่งที่ได้รับเพื่อลดผลกระทบของวัสดุบนสายพาน

ลูกกลิ้ง: แบ่งไดรฟ์ลูกกลิ้งและลูกกลิ้งที่เปลี่ยนเส้นทาง ลูกกลิ้งไดรฟ์เป็นส่วนประกอบหลักที่ส่งพลังงาน ถังเดี่ยว (มุมของเทปกับกลองเป็น 210 ° ~ 230 °), กลองคู่ (ตัดมุม 350 องศา) และลูกกลิ้งหลาย (สำหรับพลังงานสูง)



สายพานลำเลียงอุปกรณ์ tensioning: ฟังก์ชั่นที่จะ ทำให้สายพานลำเลียงถึงความตึงเครียดที่จำเป็น เพื่อหลีกเลี่ยงการลื่นไถลบนลูกกลิ้งขับขี่ และเพื่อโก่งของสายพานระหว่างลูกกลิ้งภายในช่วงที่ระบุ

สายพานส่งกำลัง





สายพานส่งกำลัง คือ สายพานที่นำส่งระบบกำลังการขับเคลื่อนจากเเหล่งพลังงานกลหนึ่งให้เกิดพลังงานกลเคลื่อนที่อีกที่หนึ่ง หรือจะสรุปง่ายๆ ก็คือ ใช้ส่งกำลังจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งมีลักษณะคล้ายกับเฟื่องส่งกำลัง สายพาน เป็นที่นิยมมาใช้งานอย่างมากในโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล เครื่องมือทางการเกษตร เครื่องยนต์ เป็นต้น


AGV


AGV (Automated Guided Vehicle) คือรถลำเลียงสินค้าอัตโนมัติโดยใช้แถบแม่เหล็ก วิชั่น หรือเลเซอร์ เป็นตัวบอกทิศทางให้กับรถเวลาเคลื่อนที่ ส่วนมากใช้ในงานอุตสาหกรรม/โรงงาน/คลังสินค้า ไว้ลำเลียงสินค้า/ชิ้นงาน จากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง ปัจจุบัน AGV เป็นที่นิยมมากขึ้นเนื่องจาก AGV ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน ลดข้อผิดพลาดหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้แรงงานคน


แบบบรรทุก หรือ เกี่ยวลาก (ลอดใต้)



ขนส่งวัตถุดิบ
ใช้แทนการขนส่งวัตถุดิบโดยใช้แรงงานคน หรือทดแทนการใช้สายพานลำเลียง

สถานีประกอบงานบนตัวรถ
การนำรถเอจีวีไปใช้เป็นสถานีประกอบงาน เป็นรูปแบบการนำไปใช้ที่มีประสิทธิภาพในสายงานการผลิต

ลำเลียงสินค้าสำเร็จรูป
ในกระบวนการส่งมอบสินค้าสำเร็จรูปย่อมต้องการ การขนส่งที่ปลอดภัยต่อสินค้าเพื่อป้องกันการเสียหาย เอจีวีเป็นคำตอบนึงที่มีศักยภาพครบทั้งเรื่องการควบคุมกระบวนการ และการส่งมอบที่ประหยัดเวลาสูงสุด



LGV Forklift


รถโฟล์คลิฟอัติโนมัติที่ใช้เทคโนโลยี Laser Navigator ในการกำหนดเส้นทางเพื่อขนย้าย/จัดเก็บสินค้าแทนการใช้คนขับ

LGV Forklift (Laser Guided Vehicle)

รถโฟล์คลิฟอัติโนมัติที่ใช้เทคโนโลยี Laser Navigator ในการกำหนดเส้นทางเพื่อขนย้าย/จัดเก็บสินค้าแทนการใช้คนขับ และด้วยองค์ประกอบคุณภาพ เช่น Traffic Controls, Safety Devices, Mechanical design, Man-machine interfacesm Navigation syatems และ Mechanical design ที่มีความแม่นยำและรวดเร็ว ทำให้รถ LGV Forklift ของเรา ช่วยลด error, ลดต้นทุน, และเพิ่มประสิทธิผลในการทำงานได้อย่างสมบูรณ์แบบ


AGV แบบลากจูง



สำหรับการนำรถเข็นมาต่อพ่วงเพื่อลากจูง

ขนส่งวัตถุดิบ

ใช้แทนการขนส่งวัตถุดิบโดยใช้แรงงานคน หรือทดแทนการใช้สายพานลำเลียง

สถานีประกอบงานบนตัวรถ

การนำรถเอจีวีไปใช้เป็นสถานีประกอบงาน เป็นรูปแบบการนำไปใช้ที่มีประสิทธิภาพในสายงานการผลิต

ลำเลียงสินค้าสำเร็จรูป

ในกระบวนการส่งมอบสินค้าสำเร็จรูปย่อมต้องการ การขนส่งที่ปลอดภัยต่อสินค้าเพื่อป้องกันการเสียหาย เอจีวีเป็นคำตอบนึงที่มีศักยภาพครบทั้งเรื่องการควบคุมกระบวนการ และการส่งมอบที่ประหยัดเวลาสูงสุด



18/03/2565

รายชื่อสมาชิกในชั้นเรียน

 รายชื่อสมาชิกในชั้นเรียน


                        อันดับ                                   รายชื่อ                                               ชื่อเล่น


                                                          นาย ธภัทร ชัยชูโชค                                        อาจารย์ปาล์ม        


                       646715045                 นาย พงศกร เหล็มเหร็ม                                           ฟิก


                       646715046                 นายภูมินทร์ เซ่งอั้น                                                  โอ๊ต


                       646715047                นาย    


                       646715048                 นาย    มัซลัณ สาและ                                               ลัน


                        646715049                นาย    มูฮัมหมัดอิรฟาน วาเล็ง                                 ฟาน


                        646715050                นาย    มูฮัมหมัดฮารีส มะลี                                       ฮาริส


                        646715051                นาย    


                        646715052                 นาย    ยุทธนา เดชะบุญ                                           บอย


                        646715053                นาย    ยุสรี แวอูมา                                                    ยุสรี


                        646715054                 นาย    รอฉีดี ซาหีมซา                                                ดี้


                        646715055                 นาย    รัตนพงษ์ เดิมหลิ่ม                                         ท็อป

    

                        646715056                 นาย    วรวงศื    ชูศรีสุข                                             อาดัม


                        646715057                   นาย    วัชรินทร์    ทองด้วง                                       อาม


                        646715058                   นาย    วันอิลฮาม อาแวดอเลาะ                                อัง


                        646715059


                        646715060                  นาย    ศักดิ์ดา ยาพระจันทร์                                       ศัก


                        646715061                  นาย    สรวิชญ์ สีนวน                                                เฟรม


                        646715062                นาย     สรศักดิ์    ทองประดับ                                    เต้


                        646715063                   นาย     สิทธิพงค์ แก้วจุลกาญจน์                             แก๊ต 


                        646715064


                        646715065


                        646715066                นาย    อนุศักดิ์    วาดี                                                   ก้าน


                        646715067                นาย    อบาดี่    อาแด                                                    ดี


                        646715068                นาย    อัซฮา ยามา                                                     ฮา


                        646715069                นาย    อัตฟัรซารอยา    จูนิ                                        ปะจู


                        646715070                 นาย    อับดุุลฮากีม เหตุ                                            กีม


                        646715071                 นาย    อับดุลฮาฟิร์ ดอเลาะ                                      ฟิต


                        646715072                  นาย    อับบัด หมานระโต๊ะ                                       บัด


                        646715073


                        646715074                  นาย    อัฟฟานดี    มะดีเย๊าะ                                      ดี้


                        646715075                  นางสาว    อัสซูวานา    ลาเต๊ะ                                  วันนา

                        646715076


                        646715077                  นาย    อาดัม    หลงหัน                                           อาดัม


                        646715078                  นาย    อะบีดีน    หะมะ                                             บีดีน


                        646715079                  นาย    อามีน ซาและ                                               อามีน


                        646715080                   นาย    อิกรอม อาแด                                               ย๋อง


                        646715081


                        646715082                       นาย    ฮัมดี    มะสะแม                                      ดี


                        646715083


                        646715084                        นาย    ฮาซัน สารง                                          ซัน


                        646715085                         นาย    ฮาบิ๊บ    ดือราแม็ง                               บิบ


                        646715086                        นาย    ศุภฤกษ์    หมันสัน                               เลอ

11/03/2565

หุ่นยนต์ในงานอุตสาหกรรม

 1. หุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรม

        






SMR(Smart Mobility Robot) คือ หุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติที่ใช้ Sensor และ Processor เพื่อเคลื่อนย้ายวัตถุได้อย่างอิสระ สามารถจดจำตำแหน่ง และวางแผนเส้นทางแบบ Real-Time ด้วยการใช้ระบบ Advanced Driver – Assistance Systems(ADAS) เป็นตัวช่วยในการเคลื่อนที่ และโปรแกรม Fleet Management ที่ตอบโจทย์รูปแบบการทำงานอย่างหลากหลาย
   เราจึงออกแบบหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติรุ่น SMR300 ภายใต้แนวคิด SEE (Safety, Easy, Economic) ที่จะช่วยให้ผู้ประกอบการเจ้าของธุรกิจต่าง ๆ ทำงานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และประหยัดพลังงาน สามารถใช้งานได้หลากหลายอุตสาหกรรม ทำให้การทำงานของคุณมีความยืดหยุ่น ปลอดภัย และประสิทธิภาพในการผลิตอย่างแท้จริง

2. หุ่นยนต์ประกอบชิ้นงานหรือชิ้นสส่วน รถยนต์

    


Cobot คืออะไร

โคบอท หรือ Collaborative Robots คือหุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีรูปร่างเป็นแขนกลที่ทำงานหยิบจับจัดเรียงชิ้นส่วนต่างๆและหน้าที่ผลิตชิ้นส่วนต่างๆที่มีขนาดเล็กและต้องการความละเอียด ซึ่ง Cobot จะมีระบบเซ็นเซอร์ที่ล้ำสมัย สามารถตรวจวัดและผลิตชิ้นงานที่มีความละเอียดสูงได้หลายๆชิ้นตามสเกลที่กำหนดไว้โดยปราศจากข้อผิดพลาด โดยโคบอทมีความแตกต่างจากหุ่นยนต์หรือโรบอททั่วไปคือโคบอทมีน้ำหนักเบาและขนาดไม่เทอะทะ สามารถเคลื่อนย้ายไปยังจุดต่างๆในโรงงานได้อย่างสะดวกสบาย โดยโคบอทถูกใช้อย่างมากในโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความเสี่ยงและอันตรายต่อมนุษย์ เช่น เคมีภัณฑ์ ยา อิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์


Cobot มาเพื่อแทนที่ของมนุษย์?

ปัจจุบันนี้ หุ่นยนต์โคบอทยังไม่มีความฉลาดเทียบเท่ามนุษย์และยังไม่มีระบบปัญญาประดิษฐ์ โคบอทจึงไม่สามารถมาแทนที่ของมนุษย์ในโรงงานอุตสาหกรรมได้ โคบอทจึงเป็นเพื่อนร่วมงานตัวหนึ่งซึ่งช่วยให้มนุษย์ทำงานต่างๆที่ต้องใช้ความละเอียดและต้องการกำลังการผลิตสูง เปรียบเสมือนมือขวาขอมนุษย์ซึ่งทำงานเชื่อมและประกอบชิ้นส่วนต่างๆที่มนุษย์ไม่สามารถทำได้ 

3. หุ่นยนต์เก็บกู้ระเบิด

    


ในงาน Open House เปิดบ้านวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งจัดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ ได้มีการแถลงข่าวเปิดตัว ‘หุ่นยนต์เก็บกู้-ทำลายล้างระเบิดแสวงเครื่อง รุ่น DYNA-T’ ที่คิดค้นและพัฒนาด้วยฝีมือของอาจารย์และนักศึกษาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยมี ผศ.มานพ คงคานิธิ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครงการพัฒนา




ทั้งนี้ การเก็บกู้ทำลายระเบิดแสวงเครื่องก่อการร้ายถือเป็นภารกิจที่มีความเสี่ยงสูง จึงมีการออกแบบหุ่นยนต์ควบคุมระยะไกลพร้อมกับพัฒนาระบบปืนยิงน้ำแรงดันสูงหรือวอเตอร์แคนนอนซึ่งมีพลังทำลายล้างสูง ไร้แรงสะท้อนกลับ ใช้งานได้เทียบเท่าหรือดีกว่าของต่างประเทศในขณะที่ราคาถูกกว่าเกือบสิบเท่า
พันโทยุทธศิลป์ มาสมบูรณ์ รองผู้บังคับหน่วยทำลายล้างวัตถุระเบิด กรมสรรพาวุธทหารบก กล่าวว่า หน่วยงาน EOD (EXPLOSIVE ORDNDNCE DISPOSAL มีภารกิจหน้าที่ทำลายล้างวัตถุระเบิด ไม่ว่าจะเป็นกระสุนปืนใหญ่ กระสุนปืนเล็ก ระเบิดขว้าง และระเบิดแสวงเครื่องที่กำลังเป็นปัญหาในปัจจุบัน โดยกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ภาค 4 ส่วนหน้า ได้จัดซื้อระบบทำลายวัตถุระเบิด (หุ่นยนต์ ปืนน้ำ และอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ทั้งหมด 4 ชุด เพื่อมอบให้กับหน่วยงานทหารและตำรวจใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีการนำไปใช้งานมาได้ระยะหนึ่งแล้ว มีประสิทธิภาพเยี่ยม ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยของหน่วย EOD ได้เป็นอย่างดี

4. หุ่นยนต์อัจฉริยะ


หุ่นยนต์ Bellabot สามารถทำอะไรได้บ้าง



ช่วยเสิร์ฟอาหารได้มากขึ้น

  • 4 ถาดอัจฉริยะพร้อมเซ็นเซอร์อินฟาเรดรองรับน้ำหนักได้ถาดละ 10 กก.
  • เสิร์ฟและบรรจุอาหารได้มากกว่าพนักงานถึง 2 เท่า
  • สามารถกำหนดให้ BellaBot ทำงานพร้อมกันได้ทั้งหมด 20 เครื่อง
  • มีฟังก์ชันโต้ตอบ มอบประสบการณ์สุดพิเศษ ดึงดูดลูกค้า



ประสิทธิภาพการทำงานที่มากขึ้น

  • เสิร์ฟอาหารได้มากกว่า 400 ครั้งต่อหนึ่งวัน
  • สามารถถอดเปลี่ยนแบตเตอรี่ ทำให้สามารถใช้งานได้ตลอด 24 ชั่วโมง
  • ลดภาระงานประจำวันของพนักงาน
  • เสิร์ฟอาหารแบบลดการสัมผัส ลดความเสี่ยงการติดเชื้อ



เสิร์ฟอาหารแบบอัจฉริยะ เน้นหลายฟังก์ชั่น

  • โหมดการทักทาย
  • โหมดการเสิร์ฟอาหาร
  • โหมดการเคลื่อนที่ต่อเนื่อง
  • โหมดวันเกิด
  • โหมดส่งคืนจาน
  • โหมดเสิร์ฟโดยตรง

    

02/03/2565

เครื่องจักร NC

 NC คืออะไร


https://www.youtube.com/watch?v=vU3pqViTX9w
NC ย่อมาจาก Numerical Control หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่
ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ CNC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC  ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว

CNC คืออะไร

   CNC เป็นคำย่อมาจากคำว่า Computer Numerical Control หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยควบคุมการทำงานเครื่องจักรกลอัตโนมัติต่างๆ เช่น เครื่องกัด เครื่องกลึง เครื่องเจาะ เครื่องเจียระไน ฯลฯ โดยการสร้างรหัส ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือเรียกว่าโปรแกรม NC ขึ้นมาควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกล   ซึ่งสามารถทำให้ผลิตชิ้นงานได้รวดเร็วถูกต้อง และเที่ยงตรง นับตั้งแต่ปีค.ศ. 1960 เป็นต้นมา เทคโนโลยีทางด้านไมโครโปรเซสเซอร์เข้ามามีบทบาทแทนที่หลอดสุญญากาศ และทรานซิสเตอร์ก็มีการพัฒนาจากเครื่องจักร NC มาเป็นเครื่องจักร CNC (Computer Numerically Controlled) และเครื่องจักร CNC ก็กลายเป็นพระเอกที่โดดเด่นเรื่อยมา เนื่องจากมีหน่วยความจำขนาดใหญ่สามารถบรรจุโปรแกรมการทำงานต่างๆ ได้เป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีจอภาพแสดงผลแบบกราฟิกแสดงผลหรือจำลองการทำงานได้อีกด้วย ในการโปรแกรมข้อมูลเข้าไปยังตัวควบคุมเครื่องจักร (Machine Control) ซึ่งเรียกการควบคุมแบบนี้ว่าระบบ softwired โดยมีการเปลี่ยนอุปกรณ์ แบบเก่าเป็นอุปกรณ์ที่สามารถจัดเก็บโปรแกรมได้ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาก็เป็นยุคต้นของเครื่องจักรกล CNC เครื่อง CNC จะใช้เทปแม่เหล็กแผ่นดิสก์ หรือ ดรัม (Drum) ในการเก็บข้อมูลที่โปรแกรมเอาไว้การโปรแกรมสามารถทำได้ที่สถานีควบคุมไปยังกลุ่มเครื่องจักรกล NC แต่ถ้าเป็นกลุ่มหรือเครื่องจักรกล CNC การโปรแกรมหรือรับสัญญาณมักจะรับจาก เครื่องจักรเองโดยตรงหรือเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ประจำเครื่อง DNC เป็นแนวความคิดใหม่ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์หนึ่งตัว (Main Computer or Host) เป็นศูนย์กลางในการควบคุม และบริหารเครื่องจักรกล NC และ CNC หลายๆ เครื่องCNC จะใช้เทปแม่เหล็กแผ่นดิสก์ หรือ ดรัม (Drum) ในการเก็บข้อมูลที่โปรแกรมเอาไว้การโปรแกรมสามารถทำได้ที่ สถานีควบคุมไปยังกลุ่มเครื่องจักรกล NC แต่ถ้าเป็นกลุ่มหรือเครื่องจักรกล CNC การโปรแกรมหรือรับสัญญาณมักจะรับจาก เครื่องจักรเองโดยตรงหรือเก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ประจำเครื่อง ในการควบคุมเครื่องจักรกลซีเอ็นซี จะใช้โปรแกรมรหัสจีเป็นชุดคำสั่ง เพื่อควบคุมขับเครื่องมือตัดเฉือน (Tool) จากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง    หรือเปิด-ปิดสารหล่อเย็นหรือเปลี่ยนเครื่องมือตัดเฉือน โดยเครื่องจักรกลจะทำงานโดยอัตโนมัติตามที่ได้โปรแกรมไว้ตามชุดคำสั่ง เราไม่สามารถแยกเครื่องจักรซีเอ็นซีและรหัสจีออกจากกันได้  ถ้าเราต้องการให้เครื่องจักรซีเอ็นซีทำงานเราต้องเรียนรู้รหัสจีเพื่อที่เราจะได้พูดภาษาเดียวกับตัวควบคุมซีเอ็นซีได้ ภายหลังจึงได้มีการพัฒนาโปรแกรม CAD/CAM ขึ้นมาใช้งานร่วมกับเครื่องจักรกล CNC ช่วยให้เข้าใจถึงวิธีการโปรแกรมรหัสจี เพื่อให้เครื่องจักรซีเอ็นซีทำงานตามที่ผู้ใช้งานต้องการได้สะดวกรวดเร็วขึ้น

DNC คืออะไร

    


https://www.youtube.com/watch?v=R0blT7_G9bg

DNC คืออุปกรณ์ใช้สำหรับเชื่อมต่อกับเครื่องจักรให้สามารถส่งข้อมูล G CODE หรือไฟล์ TEXT เพื่อเข้าเครื่องจักร ซึ่งบางเครื่องอาจจะส่งข้อมูลโดยผ่านระบบ RS232 โดยผ่านโปรแกรม DNC LINK หรือ CIMCO EDITE ซึ่งบางครั้งต้องต่อสายระโยงระยางทำให้ไม่สะดวกกับการทำงานหรืออาจจะก่อให้เกิดสัญญาณรบกวนขณะส่ง ท่านจะหมดปัญหานั้นไปเมื่อใช้การส่งข้อมูลด้วยกล่อง  DNC


25/01/2565

บทความทางด้านเทคโนโลยีสื่อสาร

 

เทคโนโลยีสื่อสาร

        ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีและการสื่อสาร  เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นถึงโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่สารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกข้อมูงสั้นๆ บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทำให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) 

    ประโยชน์ของเทคโนโลยีสื่อสาร / ข้อดี

        - ช่วยให้การติดต่อสื่อสารหากันได้สะดวกรวดเร็ว โดยการใช้โทรศัพท์คอมพิวเตอร์ หรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ

           เช่น การเรียนออนไลน์ หรือติดต่องานกับอาจารย์

        - ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมาก

        - ช่วยในการเก็บเอกสารในหลายๆ ครั้งได้สะดวก

        - ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ต้องการช่วยคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน ซึ่งบางครั้งอาจจะทำได้ไม่สำเร็จด้วยมือ

        - ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง

        - ใช้ค้นหาความรูได้/ใช้เปป็นสื่อในการเรียนการสอน

ข้อเสีย ของการใช้เทคโนโลยีสื่อสาร

        - ทำให้มีการหลอกลวงเพิ่มขึ้น

        - ทำให้ขี้เกียจไปออกกำลังกาย มัวแต่เพลิดเพลินกับการสื่อสารกับการใช้เทคโนโลยี

        - ทำให้เกิดขยะของเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น

        - การใช้งานมากๆทำให้ลืมเทคโนโลยีสมัยเก่าลง

เทคโนโลยีสื่อสารที่มีผลต่อตัวเรา

        ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของเราเป็นอย่างมาก เพราะสิ่งเหล่านี้มันแทรกซึมอยู่ในชีวิตประจำวันของเรา เพราะเราเองต้องการสิ่งอำนวยความสะดวกต่อการใช้ชีวิต และมนุษย์เองก็ได้พัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆทุกยุคสมัย ในปัจจุบันก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการสื่อสารทำให้ติดต่อหากันได้สะดวก ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อเพื่อนที่อยู่ไกลแสนไกล หรือติดต่ออาจารย์การเรียนการสอนได้สะดวกขึ้น และสภาพของสังคมจะเปลี่ยนไปแตต่างจากยุคเดิมเพราะมีเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารเข้ามา อาจมีผลกระทบกับชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ เพราะมนุษย์เริ่มให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีในด้านนี้มากเกินไปการใช้ เทคโนโลยีด้านนี้ เราควรรู้จักวิธีใช้ และความเหมาะสม เพื่อการใช้งานที่เป็นประโยชน์






24/01/2565

ประวัติส่วนตัวของ นาย ศักดิ์ดา

 ประวัติส่วนตัว 💙

นาย ศักดิ์ดา ยาพระจันทร์ 

รหัสนักศึกษา : 64671560

ชื่อเล่น : ศัก

เบอร์โทรศัพท์ : 082 414 8650

ที่อยู่ : 49/1 ม. 1 ต. ท่าเรือ อ. ท่าแพ จ. สตูล รหัสไปรษณีย์ 91150

ประวัติการศึกษา : จบ ม . ปลายมาจาก กศน มาต่อ ปวส วิทยาลัยการอาชีพละงู และจบ ปวส มาต่อที่มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา ณ ปัจจุบัน

กิดวันที่ : 10 ธันวาคม พศ 2544

มีพี่น้อง : 3 คน ผมเป็นคนที่ 3

กีฬาที่ชอบ : ว่ายน้ำ

อาหารที่ชอบ : ชอบผัดมากกว่าแกง

คติประจำใจ : ความพยายามจะใฝ่ถึงฝันอย่าได้แค่คิด

E - Mail ติดต่อ : Sakdidayaphracanthr099@gmail.com

E - Mail มหาลัยที่ใช้ในการเรียน : 646715060@parichat.skru.ac.th

งานอดิเรก : ดูหนัง เล่นคอมพิวเตอร์ 

บิดา ชื่อ : นาย หมาด ยาพระจันทร์ 

มารดา ชือ : นาง สีโหรน าพระจันทร์ 

ความสามารถพิเศษ ( ด้านศาสนา ) : สามารถอ่านอัลกุรอานได้

สถานที่อยากไปมากที่สุด : เกาหลี , ญี่ปุ่น







 


 หลักการทำงานและการวิเคราะห์กลไกของสายพานลำเลียง สายพานลำเลียงประยุกต์ช่วง สายพานลำเลียงประกอบด้วยเฟรมตรงกลางและลูกกลิ้งลำเลียงอุปกรณ์ tensi...